Está en la página 1de 6

TSF032

การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทยครัง้ ที่ 22


15-17 ตุลาคม 2551 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต

เครือ่ งอบพลังงานแสงอาทิตย์แบบปรับแผงรับแสงได้
Solar Dryer Machine: Adjustable Plate Angle

วชร กาลาสี1* และ ดิษฐพร ตุงโสธานนท์1


1
สาขาวิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร
อ.ปะทิว จ.ชุมพร 86160 โทรศัพท์ 0-7750-6434 โทรสาร 0-7750-6434

อีเมล์ kkwachar@kmitl.ac.th

บทคัดย่อ machine was approximately 45-55oC. And it also found the first
งานวิจยั นี้ได้ทาํ การศึกษา ออกแบบ สร้าง และทดสอบเครือ่ งอบ and the fifth shelf positions made the betel nuts in the trays dry
พลังงานแสงอาทิตย์ทส่ี ามารถปรับแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ได้ เพื่อ fastest. However, the betel nuts in the trays placed on all
เปรีย บเทีย บให้เ ห็น ถึง ความแตกต่ า งระหว่ า งการใช้ตู้ อ บพลัง งาน 5 shelves could dry efficiently faster than using common sun
แสงอาทิตย์ท่ไี ด้ออกแบบไว้กบั การตากแดดแบบธรรมดา โดยเครื่อง drying method about 1-2 days. And the mean temperature inside
อบแห้งที่ใช้จะมีอากาศร้อนไหลผ่านแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ท่ไี ด้ machine is higher than the outside at about 15oC.
ปรับ มุม องศาของแผงรับ ให้ต งั ้ ฉากกับ รัง สีแ สงของดวงอาทิต ย์ก่ อ น
บังคับให้ไหลเข้าบริเวณสู่บริเวณด้านล่างของตู้ และไหลเข้าสู่ตู้อบทัง้ 1. บทนํา
ั่
2 ฝงทางด้ านข้าง ผ่านผลิตภัณฑ์ทว่ี างอยู่บนชัน้ ทีอ่ อกแบบให้เกิดการ ในปจั จุบนั หมากยังมีการเพาะปลูกและให้ผลเกือบตลอดปี ทํา
ไหลของอากาศผ่านแต่ละชัน้ อย่างสมํ่าเสมอ จากผลการทดสอบพบว่า ให้เป็ นที่ต้องการของตลาดทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ในรูปของ
อุณหภูมใิ นตูอ้ บจะมีค่าอยู่ในช่วง 45 – 55 องศาเซลเซียส และเมื่อนํ า หมากสดและหมากแห้ง โดยหมากแห้งนัน้ จะถูกใช้ในอุตสาหกรรมการ
เครื่องอบต้นแบบไปทําการทดสอบกับผลหมากที่วางในถาดทัง้ 5 ชัน้ ฟอกหนัง ฟอกเส้นใย และทํายารักษาโรค ส่วนผลหมากก็สามารถใช้
พบว่า ชัน้ บนสุดและชัน้ ล่างสุดของตู้อบจะทําให้หมากแห้งได้เร็วทีส่ ุด เป็ นยาสมุนไพรในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้ ซึ่งหมากทีจ่ ะนํ าไปใช้
และหมากทีว่ างอยูใ่ นตูอ้ บนัน้ จะแห้งเร็วกว่าหมากทีไ่ ด้ตากแดดธรรมดา หรือ ส่ ง ออกนั น้ จะต้ อ งนํ า ไปตากแดดหรือ อบแห้ง เพื่อ เป็ น การไล่
ประมาณ 1-2 วัน ส่วนอุณหภูมภิ ายในตู้อบนัน้ จะมีค่าสูงกว่าอุณหภูม ิ ความชืน้ ทีม่ อี ยูใ่ นผลหมาก ทําให้สามารถป้องกันการเกิดเชือ้ ราได้
ของสิง่ แวดล้อมโดยเฉลีย่ ประมาณ 15 องศาเซลเซียส ในการตากแดดนัน้ อาจจะต้องใช้ระยะเวลามากเพื่อไล่ความชื้น
แต่ถ้าวันใดเกิดสภาพอากาศไม่ด ี เกิดมีฝนตกหรือมีเมฆปกคลุ มก็จะ
Abstract ทําให้ไม่สามารถควบคุมระยะเวลาการตากแดด เพื่อลดความชืน้ ในผล
This paper was to study of the affect of angle solar plate หมากได้ ทําให้ในบางครัง้ ผูผ้ ลิตอาจจะไม่สามารถส่งสินค้าได้ทนั ตาม
and the dry of herbal product considered to the length of drying นัดหมายได้
time to compare the differences between using the solar energy การอบแห้งเป็ นวิธกี ารหนึ่งในการไล่ความชืน้ ทีม่ อี ยู่ในผลหมาก
machine which was generated to hot air from moving solar plates’ ออกไป ซึง่ ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์กเ็ ป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่
angle every 2 hours to make the sunlight perpendicular and using สามารถนํามาใช้ในการลดความชืน้ ได้ เนื่องจากประเทศไทยได้ตงั ้ อยู่ใน
ordinary sun drying. The solar energy machine was invented เขตร้อนและมีอุณหภูมเิ ฉลีย่ สูงตลอดเกือบทัง้ ปี
similar to a box which used hot air flow system subsequently จากการศึกษาพบว่าเครื่องอบแห้งจากพลังงานแสงอาทิตย์นัน้
flow from the solar plates into the machine pass through the ได้ม ีนัก วิจ ยั หลายท่ า นได้ทํ า การศึก ษาและทํ า การทดลองกัน อย่ า ง
drilled both 2 sides of machine walls which was designed for the แพร่หลาย แต่ลกั ษณะเด่นของเครื่องอบแห้งแต่ละแบบนัน้ ก็จะมี
equilibrate and equal hot air flow to all 5 shelves and finally แตกต่างกันออกไป ซึง่ จะขึน้ อยูก่ บั การออกแบบและความเหมาะสมของ
flowed to the product in the shelves. In this case, none of using พืน้ ทีแ่ ต่ละแห่ง
other hot air sources cause of the unstable temperatures inside ดังนัน้ งานวิจยั นี้จงึ ได้ทาํ การศึกษาเพือ่ เปรียบเทียบระยะเวลาใน
machine which depended on the intenseness of sunlight in each การอบแห้ง อุณหภูมเิ ฉลี่ยภายในตู้อบ และอุณหภูมใิ นแต่ละตําแหน่ ง
hour of testing. The experiment found that the temperature inside ของชัน้ วางทัง้ 5 ชัน้ ภายในตูอ้ บของเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

378 รวมบทความวิชาการ เล่มที่ 4 การประชุมวิชาการเครื อข่ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่งประเทศไทยครังที่ 22


ทีอ่ อกแบบให้มจี ุดเด่น คือแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์สามารถทีจ่ ะปรับ เป็ นแบบอิสระโดยไม่มพี ดั ลมช่วย แต่จะมีปล่องระบายช่วยให้การพา
ให้อยู่ในแนวตัง้ ฉากกับดวงอาทิตย์ได้กบั วิธกี ารตากแห้งโดยธรรมชาติ ความร้อนดียงิ่ ขึน้ [1, 2]
เพื่อทําให้สามารถนํ าพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ได้สงู สุดในสภาวะเศรษฐกิจแบบปจั จุบนั 3. การออกแบบและอุปกรณ์การทดลอง
งานวิจ ยั นี้ ไ ด้อ อกแบบและสร้า งเครื่อ งอบพลัง งานความร้อ น
2. ทฤษฎี แสงอาทิตย์ตน้ แบบทีส่ ามารถปรับมุมของแผงรับตามการเคลื่อนทีข่ อง
2.1 ทฤษฎีการอบแห้ง ดวงอาทิตย์เพื่อเปรียบเทียบผลการตากผลิตภัณฑ์โดยธรรมชาติ ซึง่ ได้
การอบแห้ง เป็ นกระบวนการทีค่ วามร้อนถูกถ่ายเทด้วยวิธใี ดวิธ ี แบ่งการทดสอบออกเป็ น 2 ขัน้ ตอน คือ การทดทดสอบเบื้องต้น และ
หนึ่ ง ไปยัง วัตถุ ท่มี คี วามชื้น เพื่อไล่ค วามชื้นออกโดยการระเหย การทดสอบจริง
หลักการของการอบแห้งวัสดุทวๆไปนั ั่ น้ มักใช้อากาศเป็ นตัวกลาง โดย 3.1 การทดสอบเบือ้ งต้น
ในการอบแห้งความร้อนจะถูกถ่ายเทจากกระแสอากาศไปยังผิวของ การทดสอบเบื้องต้นเป็ นการจําลองการรับพลังงานความร้อน
วัสดุทม่ี คี วามชืน้ อยูภ่ ายใน เมือ่ ผิวของวัสดุเกิดการสัมผัสกับอากาศร้อน จากแสงอาทิตย์ท่กี ระทําต่อแผ่นรับความร้อนที่มกี ารปรับองศาต่างๆ
ก็จะเกิดการถ่ายเทความร้อนขึน้ ทําให้วสั ดุอบแห้งดังกล่าวมีอุณหภูม ิ ตามแนวทางเดินของดวงอาทิตย์ โดยขัน้ ต้นจะทําการทดลองโดยถือว่า
สูงขึน้ ความชืน้ จะระเหยกลายเป็ นไอออกจากวัสดุไปสูบ่ รรยากาศรอบ การเคลื่อ นที่ข องดวงอาทิต ย์ม ีล ัก ษณะเป็ น เส้น โค้ง วงกลม โดยใช้
ข้าง กระบวนการอบแห้งวัสดุใดๆ จะมีความเกีย่ วข้องกับการถ่ายเท หลอดไฟทําหน้าทีเ่ ป็ นดวงอาทิตย์สอ่ งตกกระทบกับแผ่นรับความร้อนที่
มวลของความชื้น หรือนํ้ า จากวัสดุไปสู่บรรยากาศรอบๆข้าง ถ้า ทํ า จากสัง กะสีท่ีไ ด้ ท าสีดํ า ไว้ โดยในการทดลองได้ ทํ า การทดลอง
กําหนดให้อุ ณหภูมแิ ละความชื้นของอากาศที่ไหลผ่านวัสดุ อบแห้ง มี 2 ลัก ษณะ คื อ การกํ า หนดให้ แ ผ่ น รับ ความร้ อ นอยู่ ก ั บ ที่ โดยจะ
ค่า คงที่และอากาศที่ถูก ถ่ า ยเทความร้อ นให้แ ก่ ว สั ดุเ ป็ นแบบการพา กําหนดให้แหล่งความร้อนมีการเคลื่อนที่ กับการกําหนดให้แหล่งความ
ความร้อน การลดลงของความชืน้ ในวัสดุอบแห้งจะมีลกั ษณะเป็ นไป ร้อนอยูก่ บั ที่ แต่จะมีการปรับแผ่นรับความร้อนให้มกี ารเคลื่อนที่ ซึง่ จาก
ดังรูปที่ 1 การทดลองเบือ้ งต้นนี้พบว่า องศาการรับความร้อนทีไ่ ด้ผลดีทส่ี ุดคือ มุม
ของแหล่งความร้อนกับแผ่นรับความร้อนนัน้ ต้องตัง้ ฉากกัน ทัง้ ในกรณี
การให้แหล่ง ความร้อนเคลื่อ นที่และในกรณีการให้แผ่นรับความร้อ น
เคลื่อนที่ ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 1 เส้นอัตราส่วนความชืน้ กับเวลา


รูปที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างมุมรับความร้อน (องศา) กับอุณหภูม ิ (oc)
2.2 เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิ ตย์
เครื่องอบแห้งทีใ่ ช้พลังงานอาทิตย์มมี ากมายหลายชนิด แต่
3.2 การออกแบบและการสร้างเครื่องอบ
สามารถแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภทตามลักษณะการให้ความ
เครือ่ งอบทีไ่ ด้ออกแบบและสร้างขึน้ จะมีขนาดความกว้าง 50
ร้อน และวิธกี ารนําความร้อนไปใช้ คือระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
เซนติเมตร ความยาว 50 เซนติเมตร ความสูง 50 เซนติเมตร
แบบแอคทีฟ (active solar-energy drying systems) ทีไ่ ด้ใช้การพา
โครงสร้า งของเครื่อ งอบทํ า จากแผ่ น อลู ม ิเ นี ย ม ดัง แสดงในรู ป ที่ 3
ความร้อนแบบบังคับ โดยมีพดั ลมดูดหรือผลักอากาศเข้าสู่เครื่องอบ
ตรงกลางมีฉนวนกันป้องกันความร้อน ส่วนของแผงรับพลังงาน
โดยอากาศทีไ่ หลเข้าเครือ่ งอบจะได้รบั ความร้อนจากแสงอาทิตย์ผา่ นชุด
แสงอาทิตย์จะทําจากสังกะสีแบบฟูกทาสีดํา มีพน้ื ทีร่ บั แสงขนาดความ
รับรังสีความร้อน และถูกบังคับให้ไหลผ่านผลิตภัณฑ์ ซึง่ วางอยู่ในตูอ้ บ
กว้าง 70 เซนติเมตร ความยาว 90 เซนติเมตร ส่วนด้านบนมีแผ่น
โดยอากาศทีไ่ หลผ่านผลิตภัณฑ์แล้วจะถูกระบายออก ระบบอบแห้งอีก
กระจก เพือ่ กักเก็บอากาศร้อนทีแ่ ผงรับ โดยให้อากาศไหลไปตามฟูก
ชนิดหนึ่ง คือระบบอบแห้งแบบพาสซีฟ (passive solar energy drying
ของสังกะสีเพือ่ เข้าเครือ่ งอบ ภายในเครือ่ งอบถูกออกแบบให้กระแสลม
systems) ในกรณีน้ีจะคล้ายกับแบบแรกเพียงแต่การพาความร้อนจะ
ร้อนสามารถกระจายความร้อนได้ทวถึ ั ่ งสําหรับถาดทัง้ 5 ชัน้ ดังรูปที่ 4

รวมบทความวิชาการ เล่มที่ 4 การประชุมวิชาการเครื อข่ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่งประเทศไทยครังที่ 22 379


ขนาด 200 W จํานวน 12 หลอด ซึง่ มีค่าความเข้มแสง 594 KJ/ m2 ที่
เป็ นค่าความเข้มแสงทีใ่ กล้เคียงกับค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลีย่ ใน 1 วัน
คือประมาณ 600 วัตต์ต่อตารางเมตร [3, 4] โดยค่าทีไ่ ด้จากการทดลอง
ดังกล่าวได้แสดงดังรูปที่ 5

รูปที่ 3 เครือ่ งอบทีท่ าํ การออกแบบ

รูปที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ (oC) กับ


ระยะเวลา (นาที)

จากการศึกษา และทดลองในห้องทดลอง พบว่าการทดลองทีไ่ ด้


นั น้ อุ ณ หภู ม ิท่ี แ ผงรับ ความร้ อ น ซึ่ ง ได้ ร ับ พลัง งานความร้ อ นจาก
หลอดไฟจะมีค่าอุณหภูมทิ ส่ี งู มาก จนทําให้อุณหภูมสิ งู สุดของลมร้อนที่
ออกจากแผงรับความร้อนมีค่าอยู่ระหว่าง 79-80 องศาเซลเซียส เป็ น
ผลให้อุณหภูมภิ ายในตูม้ คี ่าอยู่ระหว่าง 60-62 องศาเซลเซียส นัน้ น่ าจะ
เป็ นเพราะในกรณีน้ีเป็ นการทดสอบในห้องปิ ดจนแทบจะไม่มลี มพัดเลย
ทําให้ความร้อนทีส่ ญ ู เสียออกไป เนื่องจากการถูกถ่ายเทออกไปยังนอก
ตูอ้ บหรือสิง่ แวดล้อมมีน้อยกว่าการทดลองภายนอกห้องทดลอง หรือ
การทดลองจริง
รูปที่ 4 แสดงทิศทางการไหลของลมร้อนเข้าตูอ้ บ
4.2 การทดลองจริ งกับสภาวะแวดล้อม
3.3 อุปกรณ์ทดลอง การทดลองเครื่องอบพลังงานความร้อนแสงอาทิตย์กบั สภาวะ
ชุดอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการทดลองประกอบด้วย แวดล้อมจริง สามารถแบ่งการทดลองเป็ น 2 ขัน้ ตอน คือ
1. เครือ่ งอบพลังงานแสงอาทิตย์ ขัน้ ตอนที่1
2. เทอร์โมมิเตอร์แบบดิจติ อล สําหรับวัดอุณหภูม ิ (ภายนอกและ ทําการทดลองเพื่อวัดอุณหภูมภิ ายในเครื่องต้นแบบทีจ่ ุดต่างๆ
ภายในตูอ้ บ) โดยทํ า การทดลองเพีย งเฉพาะเครื่อ งอบ โดยไม่ ม ีก ารใส่ ต ัว อย่ า ง
3. Anemometer สําหรับวัดความเร็วลม ทดสอบ
4. เครือ่ งชั ่งนํ้าหนักแบบดิจติ อล 3 ตําแหน่ ง สําหรับชังนํ
่ ้ าหนัก ขัน้ ตอนที่2
ของผลิตภัณฑ์ นํ า หมากที่เ ตรีย มไว้ มาทํ า การแบ่ ง เพื่อ ทํ า การทดลองเป็ น
2 ชุด คือ
4. การทดลองและวิ จารณ์ผล ชุดที่ 1 นํ าไปทําการตากแดดโดยวิธธี รรมชาติ แล้วทําการชัง่
ในส่ว นของการทดลอง ได้ทํา การทดลองที่ส ภาวะต่ า งๆของ นํ้าหนักทุก 1 ชัวโมง

เครือ่ ง เพือ่ หาสภาวะทีเ่ หมาะสม และเพือ่ ให้เกิดความคุม้ ค่าสูงสุด ซึง่ ได้ ชุ ด ที่ 2 นํ า ไปอบในตู้ อ บต้ น แบบที่ไ ด้ ทํ า การสร้ า งขึ้น โดย
แบ่งการทดลองเป็ น 2 วิธ ี คือ แบ่งเป็ น 5 ส่วน แล้วนํ าไปใส่ถาดเพื่อวางในตู้อบทัง้ 5 ชัน้ แล้วทําการ
1. การทดลองในห้องทดลอง ชังนํ
่ ้าหนักทุก 1 ชัวโมง่ และทําการทดลอง 4 สภาวะ ดังนี้
2. การทดลองจริงกับสภาวะแวดล้อม สภาวะที่ 1 ความเร็วลมทีเ่ ป่าเข้าตู้ 3 m/s และไม่เปิ ดพัดลมพัด
ลมระบายออก
4.1 การทดลองในห้องทดลอง สภาวะที่ 2 ความเร็วลมทีเ่ ป่าเข้าตู้ 3 m/s และความเร็วลมด้าน
กรณีการการทดลองในห้องทดลองได้ใช้แสงของหลอดไฟแทน ระบายออก 0.5 m/s
แสงของดวงอาทิต ย์ส่อ งไปตกกระทบกับ แผงรับ ความร้อ นโดยตรง
จากนัน้ จึงทําการปรับมุมของแผงรับความร้อนให้ตงั ้ ฉากกับหลอดไฟทีม่ ี

380 รวมบทความวิชาการ เล่มที่ 4 การประชุมวิชาการเครื อข่ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่งประเทศไทยครังที่ 22


สภาวะที่ 3 ความเร็วลมทีเ่ ป่าเข้าตู้ 3 m/s และความเร็วลมด้าน
ระบายออก 1 m/s
สภาวะที่ 4 ความเร็วลมทีเ่ ป่าเข้าตู้ 3 m/s และความเร็วลมด้าน
ระบายออก 2 m/s
โดยการทดลองทัง้ ในชุดที่ 1 และ ชุดที่ 2 จะเริม่ ทําการทดลอง
พร้อมกันในแต่ละวัน ตัง้ แต่เวลา 09.00-17.00 และจะเก็บผลการทดลอง
ทุกๆ 1 ชัวโมง

หมายเหตุ
รูปที่ 7 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูม ิ (oC) กับระยะเวลาของ
-ไม่มกี ารควบคุมอุ ณหภูมภิ ายในเครื่องอบ ค่าอุณหภูมทิ ่ไี ด้จะ
การปรับแผงรับแสงอาทิตย์ทุก 2 ชัวโมง

ขึ้นอยู่ก บั ความเข้มของแสงอาทิตย์ท่กี ระทํา ต่อแผ่นรับแสง ณ เวลา
ต่างๆ โดยอุณหภูมใิ นตูอ้ บจะมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 45- 55 องศาเซลเซียส

4.3 ผลการทดลอง
ขัน้ ตอนที่ 1
ในการทดลองนี้ได้มกี ารนํ า เครื่องอบต้นแบบไปตัง้ ไว้ในที่ท่มี ี
แสงแดดส่องถึงตลอดทัง้ วัน เพื่อวัดค่าอุณหภูมภิ ายในเครื่องอบที่ชนั ้
ต่ า งๆ เทีย บกับ อุ ณ หภู ม ิข องสิ่ง แวดล้อ ม และอุ ณ หภู ม ิข องแผงรับ
ความร้อนตามลําดับ
จากรูปที่ 6, 7 และ 8 เมื่อทําการวัดอุณหภูมภิ ายในเครื่องอบ
ต้นแบบโดยไม่มกี ารใส่ตวั อย่างการทดลอง เพื่อดูความแตกต่างของ รูปที่ 8 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูม ิ (oC) กับระยะเวลาของ
อุณหภูมแิ ละระยะเวลาการปรับมุม ผลปรากฏว่าทัง้ 3 รูปแสดงผลทีไ่ ม่ การปรับแผงรับแสงอาทิตย์ทุก 3 ชัวโมง

ต่างกันมาก จึงสามารถเลือกปรับแผงรับแสงอาทิตย์ทุกๆ 2 ชัวโมงได้ ่
เพื่อลดช่วงความถี่ของการปรับแผงรับแสงและเพื่อให้ได้รบั ความเข้ม ขัน้ ตอนที่ 2
แสงเต็มที่ จากการศึกษาพบว่าอุณหภูมทิ ่แี ผงรับนัน้ จะมีค่าสูงสุดถึง การทดลองทีส่ ภาวะต่างๆ โดยจะนํ าหมากกลมแป้น มาทดลอง
68 องศาเซลเซี ย ส อุ ณ หภู ม ิ ภ ายในเครื่ อ งอบมี ค่ า สู ง สุ ด ถึ ง ทีส่ ภาวะต่างทัง้ 4 สภาวะข้างต้น
55 องศาเซลเซี ย ส ส่ ว นอุ ณ หภู ม ิ ส ิ่ ง แวดล้ อ มมี ค่ า สู ง สุ ด เป็ น
35 องศาเซลเซียส และพบว่าอุณหภูมเิ ฉลีย่ ภายในเครื่องต้นแบบจะมี
ค่าสูงกว่าอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อมประมาณ 15 องศาเซลเซียส โดยที่
ค่าของอุณหภูมขิ องแผงรับความร้อน อุณหภูมภิ ายในตู้อบ จะมีค่าขึน้
ลงตามค่าอุณหภูมขิ องสิง่ แวดล้อมด้วยเช่นกัน

รูปที่ 9 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ (oC) กับ


ระยะเวลาเดินเครือ่ ง (ชัวโมง)
่ ของสภาวะที่ 1

รูปที่ 6 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูม ิ (oC) กับระยะเวลาของ


การปรับแผงรับแสงอาทิตย์ทุก 1 ชั ่วโมง

รวมบทความวิชาการ เล่มที่ 4 การประชุมวิชาการเครื อข่ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่งประเทศไทยครังที่ 22 381


รูปที่ 10 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าหนักทีล่ ดลง (กรัม) กับ รูปที่ 13 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ (oC) กับ
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการอบ (ชัวโมง)
่ ของสภาวะที่ 1 ระยะเวลาเดินเครือ่ ง (ชั ่วโมง) ของสภาวะที่ 3

รูปที่ 11 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ (oC) กับ รูปที่ 14 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าหนักทีล่ ดลง (กรัม) กับ
ระยะเวลาเดินเครือ่ ง (ชั ่วโมง) ของสภาวะที่ 2 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการอบ (ชั ่วโมง) ของสภาวะที่ 3

รูปที่ 12 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าหนักทีล่ ดลง (กรัม) กับ รูปที่ 15 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ (oC) กับ
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการอบ (ชัวโมง)
่ ของสภาวะที่ 2 ระยะเวลาเดินเครือ่ ง (ชั ่วโมง) ของสภาวะที่ 4

382 รวมบทความวิชาการ เล่มที่ 4 การประชุมวิชาการเครื อข่ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่งประเทศไทยครังที่ 22


เอกสารอ้างอิ ง
1. O. V. Ekechukwu, and B. Norton, “Review of Solar-
EnergyDrying Systems II: An Overview of Solar Drying
Technology,”Energy Conservation & Management, Vol. 40, 1999,
pp. 615-655.
2. A. Esper, and W. Mühlbauer, “Solar Tunnel Dryer for Fruit,”
Plant Research and Development, Vol. 44, 1996, pp. 61-80.
3. ณรงค์ สีหาจ่อง ทรงยศ แดนสีแก้ว และกิติ สิน้ แต้ “การหาความ
เหมาะสมของบ่อพลังงานความร้อนแสงอาทิตย์”, การประชุมวิชาการ
สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ครัง้ ที่ 8, 22-24 มกราคม
รูปที่ 16 กราฟความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าหนักทีล่ ดลง (กรัม) กับ
2550, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการอบ (ชัวโมง)
่ ของสภาวะที่ 4
4. ณัฐพงศ์ โชติกลาง, ทศพล ชินช่าง และ ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล,
“การศึกษาปจั จัยที่มผี ลต่อการอบแห้งพริก”, คณะวิศวกรรมศาสตร์
จากกราฟทีไ่ ด้จากจากการทดลองทีส่ ภาวะทัง้ 4 แบบ (รูปที่ 9,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น
10, 11, 12, 13, 14, 15 และ 16) พบว่าการทดลองทีส่ ภาวะที่ 3 จะทํา
ให้เห็นผลต่างของการแห้งตัวในตูอ้ บกับการตากโดยแสงแดดธรรมชาติ
จะมีค่ า สู ง สุ ด ทัง้ นี้ เ พราะความเร็ ว ลมด้ า นดู ด และด้ า นเป่ า นั ้น มี
ความสัมพันธ์กนั ทําให้สามารถทีจ่ ะดึงความร้อนออกจากแผงรับความ
ร้อนเข้า สู่ตู้อบ พร้อมกับสามารถระบายความชื้นจากผลิตภัณฑ์ออก
ภายนอกตู้อบได้ในปริมาณทีส่ งู เนื่องจากหากไม่มกี ารระบายลมออก
จากตูแ้ ล้ว ก็จะทําให้ปริมาณของการดึงความร้อนจากแผงรับความร้อน
เข้า สู่ ตู้ อ บน้ อ ย เป็ น ผลให้ ก ารระบายความชื้น ออกจากตู้ อ บมีค่ า
ลดน้ อ ยลงเช่นกัน ซึ่ง เป็ น สาเหตุ ทํา ให้ผลิตภัณ ฑ์เ กิด การแห้ง ตัว ช้า
ดัง รูป ที่ 9 และ 10 ตามลํา ดับ แต่ ห ากมีก ารระบายลมออกจากตู้อ บ
มากจนเกินไปก็จะทําให้ความร้อนที่ได้รบั จากแผงรับความร้อนถูกดึง
ออกไปมาก จนเป็ น ผลให้ค วามร้อ นภายในตู้ อ บถู ก ดึง ออกไปเร็ว
จนเกินไป ผลิตภัณฑ์จงึ มีระยะเวลาสัมผัสกับความร้อนน้อยลง เป็ นผล
ให้เกิดการแห้งตัวช้าลง ดังเช่นในรูปที่ 15 และ 16 ตามลําดับ

5. สรุปผลการทดลอง
จากการทดลอง การปรับมุมองศาของแผงรับแสงทีร่ บั ความร้อน
ในการรับแสง จะได้ความเข้มแสงมากทีส่ ุดทีก่ ระทําต่อแผ่นรับ เมื่อรังสี
แสงตัง้ ฉากกับแผงรับโดยตรง เมื่อทําการวัดอุณหภูมภิ ายในเครื่องอบ
โดยไม่มกี ารใส่ตวั อย่างการทดลอง เพื่อดูความแตกต่างของอุณหภูม ิ
และระยะเวลาการปรับมุมของแผงรับ ผลปรากฏว่าไม่ต่างกันมาก จึง
เลือกปรับแผงทุกๆ 2 ชั ่วโมง เพื่อลดช่วงความถี่ของการปรับแผงรับ
และเพื่อให้ได้รบั ความเข้มแสงเต็มที่ โดยอุณหภูมภิ ายในเครื่องอบสูง
กว่าอุณหภูมสิ งิ่ แวดล้อมเฉลี่ยประมาณ 15 องศาเซลเซียส และเมื่อได้
นํ า เครื่อ งต้น แบบไปทํา การอบหมากจริง ก็พ บว่า เมื่อ ได้กํ า หนดให้
ความเร็วของลมทีเ่ ป่าเข้าตูอ้ บคือ 3 m/s แล้ว ความเร็วลมทีเ่ หมาะสม
ของด้านระบายความชืน้ ออกภายนอกตูอ้ บทีจ่ ะทําให้หมากแห้งเร็วทีส่ ุด
สําหรับการทดลองทัง้ 4 กรณีนนั ้ จะมีค่า 1 m/s และยังพบว่าหมากที่
วางอยู่ในตู้อบนัน้ จะแห้งเร็วกว่าหมากทีไ่ ด้ตากแดดธรรมดาประมาณ
1-2 วัน

รวมบทความวิชาการ เล่มที่ 4 การประชุมวิชาการเครื อข่ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่งประเทศไทยครังที่ 22 383

También podría gustarte